
Mrauk-U The last ancient city in Rakhine
|
[1] |
ความคิดเห็นที่ 5 (138693) | |
ความโหดร้ายของพม่า ในราชอาณาจักร อาระกัน พม่าได้ยึดครองทั่วราชอาณาจักรอาระกันสำเร็จในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2327 พม่าได้ฆาตกรรมหมู่ และใช้ทุกๆวิธี เพื่อทำให้อาณาจักรอาระกันตกต่ำ ไม่สามารถพื้นฟูราชอาณาจักรได้อีก และได้ทำลายบุคลเหล่านี้ได้แก่ 1. พระเจ้ามหา สมะธรรมมหาราช พระราชินี พระราชนัดดา และเจ้าหญิง 2. นักโหราศาสตร์ และ ผู้ปรึกษา 3.ผู้มีปัญญาสูง (พระภิกษุ และประชาชน ) 4. ช่างผีมือ 5.พระพุทธรูปมหามุณีองค์ยิ่งใหญ่ และ พระพุทธรูปอื่นๆ 6.ทับทิมที่มีค่าราคาสูงจนหามีได้ เพชร พลอยจากท้องพระคลังของราชนิกูล 7. ตำราเกี่ยวกับการรักษา โหราศาสตร์ ตำรายุทธศาสตร์ การทหาร และตำราอื่นๆ 8.ตำราที่จารึกประวัติศาสตร์ อาระกัน 9.พระไตรปิฏกของพระพุทธศาสนาที่การแต่งขึ้นใหม่ (tribitakat) 10.แผ่นหลังคาทองแดงของ ราชวงศ์ อาระกันที่มร้าวอุ๊ 11.ปืนใหญ่ความยาว 30 ฟุต และ กลม 9 ฟุตหนึ่งกระบอก ปืนใหญ่ประมาน 12,000 กระบอก ถูกนำเอาไปสู่พม่า พม่าเผาทำลาย ราชวังต่างๆ ของราชอาณาจักอาระกัน เพื่อทำลายล้างความรักชาติของชนชาติอาระกัน เพราะพม่าเชื่อว่า ถ้าหากประชาชนอาระกัน เห็นพบราชวัง ความรักชาติเกิดขึ้นได้ นอกจากนั้น ราชวังของราชินี เจ้าหญิง เจ้าชาย วัด เจดีย์ และทรัพย์สิน สิ่งของต่างๆที่ ไม่สามารถ นำไปได้ ถุกทำลายและ ถุกเผาเช่นกัน ตามการบันทึกเขียน จำนวนประชาชน ของราชอาณาจักรอาระกันที่ถูกฆ่าโดย พม่า ภายใน สี่ปี หลังจาก พม่าได้ยึดครองสำเร็จ ได้แก่ ที่ปองดุกปรังประมาณ 1000 คน ที่ทะระอก 1000 คน.ที่กระโรเต่า 1000 คน ที่สังกาเต่า 1000 คนในบริเวณมร้าวอุ๊ 37000 คน เด็ก 10000 คน .ที่ประป่ง ใดจี เมาสวย งะระเก้า เกาโปร่เต่า ปริ่งเปาตุก สังต้วย รามรี และมันออง 184000 คน รวมทั้งหมด ประมาณ 236000 คน และประวัติศาสตร์ของอาระกันระบุด้วยว่า พระภิกษุจำนวนหนึ่ง ถุกฆ่า โดยพม่า ด้วยความโหดร้าย และทำให้ประชาชน ราชอานาจักรอาระกัน หนีออกจากบ้านเกิด เข้าไปอยู่ประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากประชาชนอาระกัน 100'000 คนถุกใช้เป็นแรงงานที่ ต้องทำงานจึงถึงตายได้แก่ ชางฝีมือ ผู้มีปัญญา และพระภิกษุ ถุกเอาไป เพื่อที่จะใช้เหมือนทาส ที่มังทะแล และพุกันแล้ว ประชาชนมากกว่า 200,000 คนหนีรอดสู่พื้นที่ บังคลาเทศ ตกอยู่ในอำนาจอาณานิคมอังกฤษ และทำให้ไม่มีบ้าน และไม่มีประเทศ ในการเดินทางตามแนวถนนเต็มไปด้วยสพของผู้ตาย | |
ผู้แสดงความคิดเห็น ตะวันอาเรียน (fighterarakan-at-hotmail-dot-com)วันที่ตอบ 2011-12-29 16:30:44 IP : 118.172.214.32 |
ความคิดเห็นที่ 4 (138692) | |
ประวัติศาสตร์อาระกันบันทึกใว้ว่า มีสี่ราชชวงศ์ในราช อาณาจักรอาระกันในอดิต คือ 1. ราชวงศ์ ใดยะวะดี ตอนต้น (Dynyavadi ) ก่อนคริสศักราช 3325 - 1483 สร้างโดยพระเจ้ามาระยุ ปกครองโดย กษัตริย์ 57 พระองค์ 2. ราชวงศ์ใดยะวะ ดี ตอนกลาง ก่อนคริสศักราช 1483- 580 สร้างโดยพระเจ้ากันราชรี่ ปกครองโดย กษัตริย์ 28 พระองค์ 3. ราชวงศ์ ใดยะวะดี ตอนปลาย ก่อนคริสศักราช 580 - ศริสศักราช 326 สร้างโดยพระเจ้าซานดะสูเรี่ย ปกครองโดย กษัตริย์ 25 พระองค์ 4. ราชวงศ์เวสาลี พุทธศักราช 870 -1561 สร้างโดย พระเจ้าแดะวิดชันดะระ ปกครองโดย กษัตริย์ 22 พระองค์ 5. ราชวงศ์ แลโมร่ (Laymro) พุทธศักราช 1561 1949 สร้างโดย พระเจ้างะตุงมัง ปกครองโดย กษัตริย์ 61 พระองค์ 6.ราชวงศ์มร้าวอุ๊ตอนต้น พุทธศักราช 1973 - 2073 สร้างโดยพระเจ้ามังเสาะมวน 7. ราชวงศ์มร้าวอุ๊ตอนกลาง พุทธศักราช 2073 -2163 เป็นสมัยที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก ได้ปรับปรุนโดยพระเจ้ามังบัง มีความรักชาติความสามัคคีมากในราชอาณาจักอาระกัน และมีความเป็นอยู่ที่ดี มีอาณาเขตกว้างขวางที่สุด ในสมัยนั้น และมีกำลังสู่งสุดใน บริเวณของบังเกล อ่าวเบงกอล ราชวงศ์มร้าวอุ๊ตอนปลาย พุทธศักราช 2163 - 2327 เป็นสมัยที่เจริญรุ่งเรืองอีกสมัยหนึ่ง ได้ปรับปรุนโดยพระเจ้า สีริสุธรรมมหาราช ราชวงศ์มร้าวอุ๊ พุทธศักราช 1973 - 2327 ปกครองโดย กษัตริย์41 พระองค์ 234 พระองค์ ได้ปกครองราชอาณาจักรอาระกัน ยาวนานถึง-5108 ปี จนถึงพุทศักราช 2327 กษัตริย์ของพม่าชื่อ โบด่อ เมาไวท์ ได้ยึดครองราชอาณาจักอาระกันสำเร็จ ในปีพุทธศักราช 2327 ทำให้สูญเสียอาณาจักรอาระกัน เป็นสิ่งที่เลวร้ายมาก เพราะราชวงศ์อาระกัน ได้ถุกทำลาย และเปลี่ยนการปกครองโดย ชนชาติพม่า | |
ผู้แสดงความคิดเห็น ตะวันอาเรียน (fighterarakan-at-hotmail-dot-com)วันที่ตอบ 2011-12-29 16:28:21 IP : 118.172.214.32 |
ความคิดเห็นที่ 3 (137577) | |
น่าไปมากเลย ช่วยแนะนำวิธีเดินทางไป+ที่พักได้หรือเปล่าครับ...ขอบคุณครับ | |
ผู้แสดงความคิดเห็น tt วันที่ตอบ 2011-02-02 21:25:25 IP : 115.87.215.189 |
ความคิดเห็นที่ 2 (134880) | |
น่าสนจัยจังเลย | |
ผู้แสดงความคิดเห็น คนดี วันที่ตอบ 2010-04-08 19:03:39 IP : 124.122.245.3 |
ความคิดเห็นที่ 1 (461) | |
รูปสวยมากคะและประวัติน่าสนใจมาก น่าไปเที่ยวมากคะ | |
ผู้แสดงความคิดเห็น PURE (me_chanpen-at-yahoo-dot-com)วันที่ตอบ 2008-06-05 22:28:40 IP : 58.9.113.110 |
[1] |